7 สัญญาณที่ผู้ขับขี่ควรรู้
คุณเคยนับหรือไม่ว่ามีคนที่ขับรถแย่ๆ หรือคนหยาบคายกี่คนที่ใช้ถนนร่วมกับคุณ? หรือว่าคนขับคนอื่นจะบอกให้คุณรู้ได้อย่างไรว่ารถคุณมีปัญหา โดยการโบกมือไปมางั้นหรือ? เพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ขับขี่รถด้วยกันมีประสิทธิภาพมากขึ้น สมาคมผู้ขับขี่แห่งชาติได้พัฒนาสัญญาณขึ้นมา 7 แบบ เพื่อเป็นการส่งข่าวสสื่อสารระหว่างกัน
1. สัญญาณขอโทษ
การเบียดคนอื่นออกไปหรือแซงรถคันอื่นในระยะกระชั้นชิดเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ แต่ถ้าคุณพลาดไปแล้ว แสดงการขอโทษเล็กๆ ด้วยสัญลักษณ์ "ขอโทษ" ให้ชูนิ้วขึ้นมา 2 นิ้ว เป็นรูปตัว V แล้วยื่นมือออกไป เพื่อเป็นการขอโทษ
2. ขับช้าๆ ข้างหน้าไม่ปลอดภัย
การที่มีรถจอดขวางอยู่กลางถนนทำให้เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายได้ ดังนั้นเพื่อเตือนผู้ร่วมทางที่สวนมาถึงเหตุที่เพิ่งผ่านมา ให้ทำการกระพริบไฟสูง ในการเตือนถึงเหตุด้านหน้าให้กับรถที่ตามมาข้างหลัง ให้แตะเบรค หรือยื่นแขนขวาออกไป (พวงมาลัยขวา) แล้วคว่ำลง และโบกให้ช้าลง
3. ขอแซง
อยากแสดงตัวเป็นคนที่มรรยาทหรือ? ใช้สัญลักษณ์นี้เพื่อขอทางแซงรถที่ขับช้า เปิดไฟเลี้ยวขวากระพริบ ประมาณ 4-6 ครั้ง แต่ถ้ารถวิ่งช้าไม่เห็นคุณ ให้กระพริบไฟสูง
4. ส่งสัญญาณ เมื่อรถคันอื่นมีปัญหา
ถ้าสังเกตเห็นว่ารถคันอื่นมีปัญหา ให้ส่งข่าวบอกโดยใช้สัญญาณต่อไปนี้: ชี้นิ้วไปที่จุดที่มีปัญหา แล้วทิ่มหัวแม่มือลง
5. ไฟมีปัญหา (ตรวจสอบสัญญาณไฟ)
สังเกตเห็นว่า รถคันอื่นเปิดไฟทิ้งเอาไว้ ให้สื่อสารด้วยสัญญาณมือ โดยการขยับนิ้วมือ ให้แตะหัวแม่มือกับปลายนิ้วเข้าหากันและขยับเป็นจังหวะถี่ๆ
6. ต้องการความช่วยเหลือ
ถ้าหากคุณมีปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ ให้ใช้ 2 มือตั้งฉากกันเป็นรูปตัว "T"
7.เข้าใจแล้ว (ข้าพเจ้าเข้าใจ,ขอบคุณ)
เพื่อเป็นการขอบคุณรถคันอื่นหรือตอบรับการส่งสัญญาณ ให้ใช้สัญญาณ "เข้าใจแล้ว" โดยที่นิยมคือการชูนิ้วหัวแม่มือหรือสัญลักษณ์โอเค
วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
7 สัญญาณที่ผู้ขับขี่ควรรู้
ป้ายกำกับ:
7 สัญญาณที่ผู้ขับขี่ควรรู้,
รถยนต์,
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับรถยนต์
วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ระดับน้ำขนาดไหนที่เป็นอันตรายกับรถ
ระดับน้ำขนาดไหนที่เป็นอันตรายกับรถ
การประเมินระดับน้ำท่วมนั้น นับว่า มีส่วนสำคัญมาก อาจจะเป็นเพียงทางเลือกระหว่างไปหรือไม่ ในเส้นทางดังกล่าว ซึ่งการสังเกตระดับน้ำนั้น ให้ใช้จุดอ้างอิงต่างๆที่เราสามารถสังเกตได้ เช่น รถยนต์ที่สวนทางมา เสาไฟฟ้า ต้นไม้ สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ถือว่าเป็นตัวชี้วัดได้อย่างดี และคุณควรตัดสินใจให้ดีก่อนทำการลงน้ำ
1.ระดับน้ำ 5-10 เซนติเมตร ระดับน้ำนี้ถือว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยเท่านั้น และไม่สามารถส่งผลต่อการเดินทางของรถ และระดับน้ำระดับนี้มักเจอเป็นประจำเมื่อพบน้ำท่วมขังในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งระดับนี้เป็นระดับที่ปลอดภัย สามารถผ่านได้ ทั้งรถเก๋งและรถกระบะ ไร้ปัญหา
2.ระดับน้ำ 10 - 20 เซนติเมตร ในกรณีเราเจอน้ำท่วมขังในพื้นที่มากในระดับน้ำประมาณครึ่งฟุตนี้ ถือว่ายังไม่สามารถทำอะไรรถยนต์ได้ ยังสามารถผ่านไปได้ตามปกติ ทั้งรถเก๋งและรถกระบะ โดยในส่วนของรถเก๋ง อาจจะมีปัญหาเล็กย้อย เพราะคุณอาจจะได้ยินเสียงน้ำนั้น กระเพื่อมอยู่ที่ใต้ท้องรถบ้าง แต่นั่นไม่ใช่ปัญหาสามารถเดินเครื่องไปต่อได้เรื่อยๆ และในกรณีขับรถสวนกันก็อาจจะมีคลื่นที่สูงบ้าง แต่ไม่มากมายนัก ตรงนี้ยังปลอดภัย
3.ระดับน้ำ 20 -40 เซนติเมตร ตรงนี้รถเก๋งอาจจะเริ่มมีปัญหา เรานี่คือระดับขอบประตูรถเก๋งเกือบแทบทุกรุ่นในปัจจุบันที่มีระยะสูงจากพื้น 150-170 ม.ม. เท่านั้น ระดับที่ท่วม 3 ใน 4 ของล้อรถนั้น ส่งผลให้ท่อไอเสียนั้นจะจมนั้นอยู่เกือบตลอดเวลา แต่ก็ยังพอไปได้ถ้าทางนั้นไม่ยาวมากนัก แต่ถือว่าเริ่มเสี่ยงมาก อาจจะมีได้พรมแฉะกันบ้างล่ะ โดยเฉพาะรถกลุ่มซิตี้คาร์ ส่วนรถกระบะทั่วไปสามารถผ่านได้ ยกสูง ขับ 4 ยังสบายใจได้อยู่
4.ระดับน้ำ 40 -60 เซนติเมตร ระดับนั้นประมาณ 2 ฟุตนั้น ถือเป็นอันตรายสำหรับรถเก๋ง ทุกรุ่นทุกประเภท ไม่สมควรผ่านอย่างยิ่งหาทางเลี่ยงนับว่าจะเป็นวิธีการที่ดีสุดครับ ในระดับเดียวกันนี้รถปิกอัพทั่วไปนั้น ก็เริ่มมีลุ้นพอสมควร แต่ถ้าเดินเครื่องไปเรื่อยๆ ยังสามารถไปได้ เพียงแค่ต้องระวังเรื่องของคลื่นน้ำ ซึ่งจะทำให้ระดับน้ำสูงขึ้นอย่างฉับพลัน และอาจจะเข้าเครื่องได้ ระดับน้ำขนาดนี้ต้องปิดระบบปรับอากาศขับเท่านั้น ส่วนรถกระบะยกสูงทั่วไปนั้นสามารถผ่านได้ ไม่มีปัญหา แต่ก็ต้องระวังเรื่องคลื่นเช่นกัน
5.ระดับน้ำ 60-80 เซนติเมตร ระดับน้ำขนาดนี้เป็นเรื่องอันตรายกับรถทุกประเภท ไม่เว้นกระทั่งรถใหญ่ทั้งหลาย เพราะน้ำนั้นอาจจะมีสิทธิไหลเข้ากรองอากาศได้ง่ายกว่า ยิ่งเจอคลื่นนั้นอาจจะสูงถึงระดับ 1 เมตร ที่สามารถทำให้เครื่องยนต์หยุดชะงักและสร้างความเสียหายต่อระบบต่างๆได้ การลุยน้ำท่วมระดับนี้ ต้องใช้ความชำนาญการเป็นพิเศษพอตัว ที่สำคัญ พยายามอย่าปะทะคลื่นโดยตรง เพื่อหลีกเลี่ยงเครื่องดับกลางอากาศ และอย่าใช้ความเร็วสูงนัก
6.ระดับน้ำสูงเกินกว่า 80 เซนติเมตร ระดับน้ำที่มากที่สุดที่รถเดิมๆจากโรงงานจะสามารถผ่านได้และก็ไม่ใช่ทุกรุ่น เสียด้วย ตามปกติ ระดับน้ำ 80 ซ.ม. นั้นหมายถึงน้ำขึ้นถึงฝากระโปรง ท่วมไฟหน้ามิดสิ่งสำคัญคือปิดระบบไฟต่างๆ เพื่อป้องกันการลัดวงจรเดินเครื่องอย่างต่อเนื่องอย่าหยุด แต่ถ้าอยากให้ปลอดภัย น้ำระดับนี้ ควรมากับรถลุยที่มีการปรับแต่งยกสูงจากปกติประมาณ 2-4 นิ้ว จะมั่นใจกว่า
ทั้งนี้อย่างที่บอกไปในเบื้องต้นว่าการประเมินระดับน้ำนั้นต้องอาศัยสิ่งที่ ช่วยอ้างอิง และที่สำคัญ ต้องรู้จักรถเราอย่างดี ว่าระดับไหนที่ปลอดภัย อย่าฝืน มิฉะนั้น อาจจะตายกลางทางได้
การประเมินระดับน้ำท่วมนั้น นับว่า มีส่วนสำคัญมาก อาจจะเป็นเพียงทางเลือกระหว่างไปหรือไม่ ในเส้นทางดังกล่าว ซึ่งการสังเกตระดับน้ำนั้น ให้ใช้จุดอ้างอิงต่างๆที่เราสามารถสังเกตได้ เช่น รถยนต์ที่สวนทางมา เสาไฟฟ้า ต้นไม้ สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ถือว่าเป็นตัวชี้วัดได้อย่างดี และคุณควรตัดสินใจให้ดีก่อนทำการลงน้ำ
1.ระดับน้ำ 5-10 เซนติเมตร ระดับน้ำนี้ถือว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยเท่านั้น และไม่สามารถส่งผลต่อการเดินทางของรถ และระดับน้ำระดับนี้มักเจอเป็นประจำเมื่อพบน้ำท่วมขังในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งระดับนี้เป็นระดับที่ปลอดภัย สามารถผ่านได้ ทั้งรถเก๋งและรถกระบะ ไร้ปัญหา
2.ระดับน้ำ 10 - 20 เซนติเมตร ในกรณีเราเจอน้ำท่วมขังในพื้นที่มากในระดับน้ำประมาณครึ่งฟุตนี้ ถือว่ายังไม่สามารถทำอะไรรถยนต์ได้ ยังสามารถผ่านไปได้ตามปกติ ทั้งรถเก๋งและรถกระบะ โดยในส่วนของรถเก๋ง อาจจะมีปัญหาเล็กย้อย เพราะคุณอาจจะได้ยินเสียงน้ำนั้น กระเพื่อมอยู่ที่ใต้ท้องรถบ้าง แต่นั่นไม่ใช่ปัญหาสามารถเดินเครื่องไปต่อได้เรื่อยๆ และในกรณีขับรถสวนกันก็อาจจะมีคลื่นที่สูงบ้าง แต่ไม่มากมายนัก ตรงนี้ยังปลอดภัย
3.ระดับน้ำ 20 -40 เซนติเมตร ตรงนี้รถเก๋งอาจจะเริ่มมีปัญหา เรานี่คือระดับขอบประตูรถเก๋งเกือบแทบทุกรุ่นในปัจจุบันที่มีระยะสูงจากพื้น 150-170 ม.ม. เท่านั้น ระดับที่ท่วม 3 ใน 4 ของล้อรถนั้น ส่งผลให้ท่อไอเสียนั้นจะจมนั้นอยู่เกือบตลอดเวลา แต่ก็ยังพอไปได้ถ้าทางนั้นไม่ยาวมากนัก แต่ถือว่าเริ่มเสี่ยงมาก อาจจะมีได้พรมแฉะกันบ้างล่ะ โดยเฉพาะรถกลุ่มซิตี้คาร์ ส่วนรถกระบะทั่วไปสามารถผ่านได้ ยกสูง ขับ 4 ยังสบายใจได้อยู่
4.ระดับน้ำ 40 -60 เซนติเมตร ระดับนั้นประมาณ 2 ฟุตนั้น ถือเป็นอันตรายสำหรับรถเก๋ง ทุกรุ่นทุกประเภท ไม่สมควรผ่านอย่างยิ่งหาทางเลี่ยงนับว่าจะเป็นวิธีการที่ดีสุดครับ ในระดับเดียวกันนี้รถปิกอัพทั่วไปนั้น ก็เริ่มมีลุ้นพอสมควร แต่ถ้าเดินเครื่องไปเรื่อยๆ ยังสามารถไปได้ เพียงแค่ต้องระวังเรื่องของคลื่นน้ำ ซึ่งจะทำให้ระดับน้ำสูงขึ้นอย่างฉับพลัน และอาจจะเข้าเครื่องได้ ระดับน้ำขนาดนี้ต้องปิดระบบปรับอากาศขับเท่านั้น ส่วนรถกระบะยกสูงทั่วไปนั้นสามารถผ่านได้ ไม่มีปัญหา แต่ก็ต้องระวังเรื่องคลื่นเช่นกัน
5.ระดับน้ำ 60-80 เซนติเมตร ระดับน้ำขนาดนี้เป็นเรื่องอันตรายกับรถทุกประเภท ไม่เว้นกระทั่งรถใหญ่ทั้งหลาย เพราะน้ำนั้นอาจจะมีสิทธิไหลเข้ากรองอากาศได้ง่ายกว่า ยิ่งเจอคลื่นนั้นอาจจะสูงถึงระดับ 1 เมตร ที่สามารถทำให้เครื่องยนต์หยุดชะงักและสร้างความเสียหายต่อระบบต่างๆได้ การลุยน้ำท่วมระดับนี้ ต้องใช้ความชำนาญการเป็นพิเศษพอตัว ที่สำคัญ พยายามอย่าปะทะคลื่นโดยตรง เพื่อหลีกเลี่ยงเครื่องดับกลางอากาศ และอย่าใช้ความเร็วสูงนัก
6.ระดับน้ำสูงเกินกว่า 80 เซนติเมตร ระดับน้ำที่มากที่สุดที่รถเดิมๆจากโรงงานจะสามารถผ่านได้และก็ไม่ใช่ทุกรุ่น เสียด้วย ตามปกติ ระดับน้ำ 80 ซ.ม. นั้นหมายถึงน้ำขึ้นถึงฝากระโปรง ท่วมไฟหน้ามิดสิ่งสำคัญคือปิดระบบไฟต่างๆ เพื่อป้องกันการลัดวงจรเดินเครื่องอย่างต่อเนื่องอย่าหยุด แต่ถ้าอยากให้ปลอดภัย น้ำระดับนี้ ควรมากับรถลุยที่มีการปรับแต่งยกสูงจากปกติประมาณ 2-4 นิ้ว จะมั่นใจกว่า
ทั้งนี้อย่างที่บอกไปในเบื้องต้นว่าการประเมินระดับน้ำนั้นต้องอาศัยสิ่งที่ ช่วยอ้างอิง และที่สำคัญ ต้องรู้จักรถเราอย่างดี ว่าระดับไหนที่ปลอดภัย อย่าฝืน มิฉะนั้น อาจจะตายกลางทางได้
ป้ายกำกับ:
รถยนต์,
ระดับน้ำขนาดไหนที่เป็นอันตรายกับรถ,
วิธีดูแลรถยนต์
เทคนิคการเติมน้ำมัน
เทคนิคการเติมน้ำมัน
วิธีง่ายๆที่จะทำให้การเติมน้ำมันแต่ละครั้งคุ้มค่ามากที่สุด
วิธีง่ายๆที่จะทำให้การเติมน้ำมันแต่ละครั้งคุ้มค่ามากที่สุด
1. จงเติมน้ำมันตอนเช้าขณะที่อุณหภูมิบนพื้นดินยังเย็นอยู่
อย่าลืมว่าปั๊มน้ำมันทุกแห่งมีถังน้ำมันฝั่งอยู่ใต้ดิน เมื่อพื้นดินยิ่งเย็นน้ำมันยิ่งควบแน่น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น น้ำมันก็จะขยายตัวตามดังนั้น หากเติมน้ำมันช่วงบ่ายหรือเย็น คุณจ่ายค่าน้ำมัน 1 แกลลอน แต่ได้มาไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยธุรกิจค้าน้ำมัน ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันสำหรับเครื่องบินเอทานอล หรือผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ อุณหภูมิและความถ่วงจำเพาะมีบทบาทสำคัญ อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเพียง 1 องศา หมายถึงเงินมหาศาลในธุรกิจนี้ แต่ปั๊มน้ำมันไม่มีการชดเชยอุณหภูมิให้ลูกค้า
2. ขณะเติมน้ำมัน อย่าให้เด็กปั๊มตั้งหัวฉีดอยู่ในตำแหน่งไหลเร็ว
หากคุณสังเกต จะเห็นว่ากลไกเหนี่ยวมี 3 ระดับ คือ low, middle, และ higt เมื่อตั้งในระดับไหลช้า จะเกิดไอระเหยของน้ำมันน้อยที่สุดหากตั้งในระดับไหลเร็ว น้ำมันบางส่วนจะกลายเป็นไอระเหยและถูกสูบย้อนกลับไปยังถังใ้ต้ดิน นั่นหมายถึงคุณจ่ายเงินมากกว่าที่ควร
3. ควรเติมน้ำมันเมื่อน้ำมันในรถเหลือครึ่งถัง
เหตุผลคือ น้ำมันบรรจุในถังยิ่งมาก เนื้อที่ว่างสำหรับไอระเหยก็ยิ่งน้อยเพราะน้ำมันระเหยเป็นไอเร็วกว่าที่คุณคาดคิดในคลังเก็บน้ำมันจะมีอุปกรณ์ภายในถัง ทำหน้าที่เป็นเพดานลอยขึ้นลงตามระดับน้ำมัน ทำให้ไม่มีช่องว่างระหว่างน้ำมันกับอากาศลดไอระเหยของน้ำมันให้น้อยที่สุด รถขนส่งน้ำมันเมื่อมาบรรทุกน้ำมันจึงเติมได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ผิดกับที่ปั๊มน้ำมันซึ่งไม่มีการชดเชยอุณหภูมิ
4. อย่าเติมขณะถ่ายน้ำมันใหม่
อย่าลืมว่าปั๊มน้ำมันทุกแห่งมีถังน้ำมันฝั่งอยู่ใต้ดิน เมื่อพื้นดินยิ่งเย็นน้ำมันยิ่งควบแน่น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น น้ำมันก็จะขยายตัวตามดังนั้น หากเติมน้ำมันช่วงบ่ายหรือเย็น คุณจ่ายค่าน้ำมัน 1 แกลลอน แต่ได้มาไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยธุรกิจค้าน้ำมัน ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันสำหรับเครื่องบินเอทานอล หรือผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ อุณหภูมิและความถ่วงจำเพาะมีบทบาทสำคัญ อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเพียง 1 องศา หมายถึงเงินมหาศาลในธุรกิจนี้ แต่ปั๊มน้ำมันไม่มีการชดเชยอุณหภูมิให้ลูกค้า
2. ขณะเติมน้ำมัน อย่าให้เด็กปั๊มตั้งหัวฉีดอยู่ในตำแหน่งไหลเร็ว
หากคุณสังเกต จะเห็นว่ากลไกเหนี่ยวมี 3 ระดับ คือ low, middle, และ higt เมื่อตั้งในระดับไหลช้า จะเกิดไอระเหยของน้ำมันน้อยที่สุดหากตั้งในระดับไหลเร็ว น้ำมันบางส่วนจะกลายเป็นไอระเหยและถูกสูบย้อนกลับไปยังถังใ้ต้ดิน นั่นหมายถึงคุณจ่ายเงินมากกว่าที่ควร
3. ควรเติมน้ำมันเมื่อน้ำมันในรถเหลือครึ่งถัง
เหตุผลคือ น้ำมันบรรจุในถังยิ่งมาก เนื้อที่ว่างสำหรับไอระเหยก็ยิ่งน้อยเพราะน้ำมันระเหยเป็นไอเร็วกว่าที่คุณคาดคิดในคลังเก็บน้ำมันจะมีอุปกรณ์ภายในถัง ทำหน้าที่เป็นเพดานลอยขึ้นลงตามระดับน้ำมัน ทำให้ไม่มีช่องว่างระหว่างน้ำมันกับอากาศลดไอระเหยของน้ำมันให้น้อยที่สุด รถขนส่งน้ำมันเมื่อมาบรรทุกน้ำมันจึงเติมได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ผิดกับที่ปั๊มน้ำมันซึ่งไม่มีการชดเชยอุณหภูมิ
4. อย่าเติมขณะถ่ายน้ำมันใหม่
ขณะที่คุณขับรถเข้าปั๊มถ้าเห็นรถบรรทุกกำลังถ่ายน้ำมันเข้าสู่ถังเก็บใต้ดินจงอย่ารีบร้อนเติมน้ำมันช่วงเวลานั้น เพราะตอน "ลงของ" สิ่งแปลกปลอม ซึ่งปกติตกตะกอนอยู่ใต้ถัง จะถูกปั่นป่วนจนลอยตัว หากคุณเติมน้ำมันช่วงเวลานั้น อาจมีโอกาสดูดเอาสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่รถคุณได้
ป้ายกำกับ:
เทคนิคการเติมน้ำมัน,
น้ำมัน,
รถยนต์,
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับรถยนต์
12 วิธีประหยัดน้ำมัน
12 วิธีประหยัดน้ำมัน
ในเมื่อสถานการณ์ราคาน้ำมันยังคงพุ่งไม่หยุด ทางออกที่ดีที่สุดสำหรับทุกคนในเวลานี้คือการประหยัดน้ำมัน เพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าของคุณเอง โดยวิธีง่ายๆ 12 วิธี ดังนี้
1.เติมน้ำมันหลัง 4 ทุ่ม หรือก่อน 9 โมงเช้าเสมอ เพราะ อุณหภูมิเย็นน้ำมันหดตัวจะได้ปริมาณเพิ่มขึ้น 2%
2.เติมน้ำมันแค่หัวจ่ายตัดพอแล้ว เพราะ ถ้าเติมจนเต็มปรี่ ร้อนๆ น้ำมันจะขยายตัวระเหยทิ้งที่รูระบาย
3.อุ่นเครื่องซัก 1 นาทีในหน้าร้อน และ 3 นาทีในหน้าหนาว เพราะ เครื่องจะได้ไม่ใช้กำลังฉุดมากและการหล่อลื่นจะสมบูรณ์ขึ้น
4.ค่อยๆ ออกตัวเมื่อรถจอดนิ่งที่ 1-2 พันรอบ เพราะ ได้ความนิ่มนวล ประหยัด และลดการสึกหรอของเครื่อง
5.ควรใช้เกียร์สูงขึ้นเมื่อรถวิ่งได้ 2,500 รอบขึ้นไป เพราะ การลากเกียร์จะทำให้ชุดเกียร์ทำงาน จนอายุการใช้งานจะสั้น
6.เครื่อง 2.0 CC ขึ้นไปความเร็วคงที่ๆ ประหยัดคือ 110 Km/h เพราะ รักษาเสถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
7.เครื่องต่ำกว่า 1.6 CC ความเร็วคงที่ๆ ประหยัดคือ 90 Km/h เพราะ รักษาเสถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
8.พักรถซัก 15 นาที เมื่อขับเกิน 4 ชม. เพื่อให้ความร้อนลด เพราะ ให้น้ำมันในระบบคลายความร้อนกลับมามีคุณสมบัติที่ดีอีกครั้ง
9.เกียร์ถอยกินน้ำมันมากสุด ควรค่อยๆ ถอย ไม่ต้องเร่ง เพราะ เกียร์ถอยใช้อัตราทดและใช้แรงฉุดมากกว่าทุกเกียร์
10.ก่อนถึงปลายทางซัก 500 ม. ให้ปิดแอร์ลดภาระเครื่อง เพราะ เป่าลมไล่ความชื้นในตู้แอร์ ไล่เชื้อราที่สะสมอยู่ในความชื้นด้วย
11.เช็คลมยางให้สม่ำเสมอทุกๆ 2 อาทิตย์ เพราะ ลมยางอ่อนวิ่งได้ช้า+ขอบยางสึกมากยางหมดดอกก่อนกำหนด
12.เก็บสัมภาระหรือของหนักๆ ออกจากรถเพื่อลดน้ำหนัก เพราะ เพิ่มน้ำหนักรถทำให้รถกินน้ำมันเพิ่ม 20% ตามระยะทางที่วิ่ง
ในเมื่อสถานการณ์ราคาน้ำมันยังคงพุ่งไม่หยุด ทางออกที่ดีที่สุดสำหรับทุกคนในเวลานี้คือการประหยัดน้ำมัน เพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าของคุณเอง โดยวิธีง่ายๆ 12 วิธี ดังนี้
1.เติมน้ำมันหลัง 4 ทุ่ม หรือก่อน 9 โมงเช้าเสมอ เพราะ อุณหภูมิเย็นน้ำมันหดตัวจะได้ปริมาณเพิ่มขึ้น 2%
2.เติมน้ำมันแค่หัวจ่ายตัดพอแล้ว เพราะ ถ้าเติมจนเต็มปรี่ ร้อนๆ น้ำมันจะขยายตัวระเหยทิ้งที่รูระบาย
3.อุ่นเครื่องซัก 1 นาทีในหน้าร้อน และ 3 นาทีในหน้าหนาว เพราะ เครื่องจะได้ไม่ใช้กำลังฉุดมากและการหล่อลื่นจะสมบูรณ์ขึ้น
4.ค่อยๆ ออกตัวเมื่อรถจอดนิ่งที่ 1-2 พันรอบ เพราะ ได้ความนิ่มนวล ประหยัด และลดการสึกหรอของเครื่อง
5.ควรใช้เกียร์สูงขึ้นเมื่อรถวิ่งได้ 2,500 รอบขึ้นไป เพราะ การลากเกียร์จะทำให้ชุดเกียร์ทำงาน จนอายุการใช้งานจะสั้น
6.เครื่อง 2.0 CC ขึ้นไปความเร็วคงที่ๆ ประหยัดคือ 110 Km/h เพราะ รักษาเสถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
7.เครื่องต่ำกว่า 1.6 CC ความเร็วคงที่ๆ ประหยัดคือ 90 Km/h เพราะ รักษาเสถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
8.พักรถซัก 15 นาที เมื่อขับเกิน 4 ชม. เพื่อให้ความร้อนลด เพราะ ให้น้ำมันในระบบคลายความร้อนกลับมามีคุณสมบัติที่ดีอีกครั้ง
9.เกียร์ถอยกินน้ำมันมากสุด ควรค่อยๆ ถอย ไม่ต้องเร่ง เพราะ เกียร์ถอยใช้อัตราทดและใช้แรงฉุดมากกว่าทุกเกียร์
10.ก่อนถึงปลายทางซัก 500 ม. ให้ปิดแอร์ลดภาระเครื่อง เพราะ เป่าลมไล่ความชื้นในตู้แอร์ ไล่เชื้อราที่สะสมอยู่ในความชื้นด้วย
11.เช็คลมยางให้สม่ำเสมอทุกๆ 2 อาทิตย์ เพราะ ลมยางอ่อนวิ่งได้ช้า+ขอบยางสึกมากยางหมดดอกก่อนกำหนด
12.เก็บสัมภาระหรือของหนักๆ ออกจากรถเพื่อลดน้ำหนัก เพราะ เพิ่มน้ำหนักรถทำให้รถกินน้ำมันเพิ่ม 20% ตามระยะทางที่วิ่ง
ป้ายกำกับ:
น้ำมัน,
ประหยัดน้ำมัน,
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับรถยนต์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)